การวิจัยตลาด
ประเภทของการวิจัยตลาด
1. การวิจัยผู้บริโภค (Consumer Research) เป็นการวิจัยที่สำคัญที่สุด
1.1 ใครเป็นผู้ใช้
1.2 ความสัมพันธ์ระหว่างผู้ซื้อกับผู้ใช้
1.3 ทำไมผู้บริโภคจึงซื้อ
1.4 ผู้ซื้อซื้อไปทำอะไร
1.5 วิเคราะห์ถึงจำนวนที่ใช้ในแต่ละครั้ง
1.6 วิเคราะห์ถึงจำนวนที่ซื้อ
1.7 อุปนิสัย
1.8 สานที่ที่ซื้อ
1.9 ความจงรักภักดีในตรายี่ห้อ
1.10 ศึกษาสภาพทางภูมิศาสตร์
1.11 สถานะทางเศรษฐกิจ
2. การวิจัยผลิตภัณฑ์ (Product Research) ศึกษาถึงความต้องการของผู้บริโภคต่อ
2.1 การยอมรับผลิตภัณฑ์ใหม่
2.2 การศึกษาสินค้าของคู่แข่งขัน
2.3 การทดสอบผลิตภัณฑ์ปัจจุบัน
2.4 การวิจัยการบรรจุหีบห่อ
3.การวิจัยราคา (Pricing Research)
4.การวิจัยการโฆษณา (Advertising Research)
4.1 การวิจัยสาระทางโฆษณา
4.2 การวิจัยสื่อทางโฆษณา
4.2.1 ขอบเขตของการเข้าถึง
4.2.2 ความถี่ในการโฆษณา
4.2.3 ผลกระทบ
4.3 การวิจัยประสิทธิผลทางโฆษณา
5.การวิจัยการขาย (Sales Research)
5.1 การวิจัยช่องทางการจัดจำหน่าย
5.2 การวิจัยองค์การฝ่ายขายและการปฏิบัติงานการขาย
5.3 การวิจัยเกี่ยวกับเขตการขาย
5.4 การวิเคราะห์วิธีการขายในปัจจุบัน
5.5 การวิจัยเกี่ยวกับพนักงานขาย
5.6 การวิเคราะห์การพยากรณ์การขาย
กระบวนการวิจัยตลาด (The Marketing Research Process)
1. การกำหนดปัญหาและวัตถุประสงค์
- ต้องกำหนดปัญหาให้ถูกต้อง
- การมองปัญหาของผู้บริหารต่างระดับจะแตกต่างกัน
- การกำหนดปัญหาต้องชัดเจน แน่นอน ไม่คลุมเครือ
2. การพัฒนาแผนการวิจัย
- ต้องกระทำอย่างระมัดระวัง
- ใช้วิธีการวิจัยที่เหมาะสม
ประเภทของการวิจัย
1.การวิจัยเชิงสำรวจ
2.การวิัจัยเชิงพรรณนา
3.การวิจัยเชิงเหตุผล
3.การรวบรวมข้อมูล
1.ข้อมูลปฐมภูมิ (Primary Data) เป็นข้อมูลที่ถูกเก็บขึ้นครั้งแรก สำหรับวัตถุประสงค์และปัญหาของเราโดยเฉพาะ แนวทางในการวิจัยได้แก่
การรวบรวมข้อมูลปฐมภูมิ
1. โดยการสังเกต (Observation) สังเกตบุคคลที่เกี่ยวข้องโดยการกระทำ และสถารการณ์
- โดยใช้บุคคล
- โดยใช้เครื่องมือ
2. โดยใช้กรณีตัวอย่าง (Case study)
3. โดยใช้การทดลอง (Experimentation) เหมาะกับการรวบรวมข้อมูลที่เป็นเชิงเหตุผล
- ตัวแปรอิสระ (Independent variable)
- ตัวแปรตาม (Dependent variable)
4. โดยใช้วิธีการสำรวจภาคสนาม (Survey) มีความยืดหยุ่น สามารถนำไปใช้ในการศึกษาข้อมูลที่หลากหลายในสถานการณ์ที่แตกต่าง ช่วยระบุปัญหาการตลาดหรือสิ่งที่ต้องการตัดสินใจ เช่น
- โดยพนักงานสัมภาษณ์
- ทางโทรศัพย์ทางไปรษณีย์
2.ข้อมูลทุติยภูมิ (Secondary) เป็นข้อมูลที่ถูกเก็บรวบรวมไว้เรียบร้อยแล้ว เพื่อวัตถุประสงค์อื่น มากกว่าปัญหาของเราโดยเฉพาะซึ่งได้จาก
- จากแหล่งภายใน
- จากแหล่งภายนอก
4. การประมาลผล และแปรความหมายข้อมูล
1. การตรวจสอบข้อมูล (Editing)
2. การแบ่งหมวดข้อมูล (Classifying)
3. การลงรหัสข้อมูล (Coding)
4. การจัดข้อมูลเข้าตาราง (Tabulating)
5. การจัดเตรียมรายงานและการนำเสนอ
- การนำเสนอด้วยปากเปล่า
- การนำเสนอเป็นลายลักษณ์
6. การติดตามผลงานวิจัย
การวิจัยการตลาดระหว่างประเทศ
การวิจัยการตลาดระหว่างประเทศมีขั้นตอนเช่นเดียวกับการวิจัยการตลาดในประเทศ ขณะที่นักวิจัยในประเทศจะต้องศึกษาตลาดที่มีองค์ประกอบภายในเหมือนกัน แต่นักวิจัยระหว่างประเทศจะต้องศึกษาตลาดที่มีองค์ประกอบแตกต่างในแต่ละประเทศ ซึ่งจะแตกต่างกันมากในเรื่อง วัฒนธรรม ประเพณี ระดับการพัฒนาเศรษฐกิจและรูปแบบการซื้อสินค้า
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น